ได้ให้ความหมายของนวัตกรรมว่าหมายถึงสิ่งที่ทำขึ้นใหม่หรือแปลกจากเดิมซึ่งอาจจะเป็นความคิด วิธีการหรืออุปกรณ์ เป็นต้น
วันพุธที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2558
บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เรื่องการสร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยโปรแกรม Adobe Flash
บทเรียนสําเร็จรูป
บทเรียนสําเร็จรูป
เรื่อง
พลเมืองตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่2
จัดทำโดย
นางควนคนึง เสาม่วง
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
คำนำ
บทเรียนสำเร็จรูปเล่มนี้เป็นเรื่อง
ซึ่งจัดทำขึ้นเพื่อการเรียนการสอน เรื่อง พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2 นักเรียนสามารถศึกษาและทดสอบความเข้าใจด้วยตนเอง ซึ่งประกอบด้วยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน และได้กำหนดเนื้อหาไว้เป็นตอนภายในกรอบ
จึงช่วยทำให้นักเรียนอ่านเข้าใจง่ายและไม่สับสน
ภายในกรอบเนื้อหาความรู้จะมีข้อกำหนดที่นักเรียนสามารถตรวจสอบความถูกต้องได้
บทเรียนสำเร็จรูปนี้
ได้ทดลองใช้กับนักเรียนได้ผลเป็นที่น่าพอใจ จึงหวังว่าคงเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจไม่มากก็น้อย
หากบทเรียนสำเร็จรูปนี้ผิดพลาดประการใด
ข้าพเจ้าขออภัยมา ณ ที่นี้
ควนคนึง เสาม่วง
ผู้จัดทำ
ข้อเสนอแนะในการใช้บทเรียนสำเร็จรูป
เรื่อง พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง ตระหนักถึงคุณค่าในความเป็นพลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตยของตนเองและของบุคคลอื่นที่มีศักยภาพในการทำประโยชน์ให้แก่สังคม
จังหวัด และภาค
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายความหมายของพลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตยได้
2. บอกวิธีปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตยได้
3.
เห็นคุณค่าและความสำคัญของการเป็นพลเมืองดีตามวิถีชีวิต
ประชาธิปไตย.ในสังคมปัจจุบัน
บทเรียนสำเร็จรูปฉบับนี้
จัดทำขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ดังนี้
1.
เพื่อให้นักเรียนได้ใช้บทเรียนสำเร็จรูปนี้
ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม นอกเหนือจากเอกสารประกอบการเรียนที่มีอยู่
2.
เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้ตรงตามสาระวิชาที่ถูกต้องสมบูรณ์เป็นไปตาม จุดประสงค์การเรียนรู้
3.
เพื่อให้ครูผู้สอนได้มีบทเรียนสำเร็จรูป
ควบคู่กับการเรียนของนักเรียน
บทเรียนสำเร็จรูปประกอบด้วย
1.
จุดประสงค์การเรียนรู้
กำหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทาง
การเรียน เมื่อศึกษาแล้วได้รับประโยชน์จากการเรียนอย่างไร
และให้นักเรียนทราบถึง
ขอบข่ายของสาระการเรียนรู้และจุดเน้นที่ต้องการ
ซึ่งจะเป็นแนวทางในการจัด
การเรียนการสอนได้อย่างถูกต้อง
2.
ส่วนประกอบ 3 ส่วน
-
ส่วนที่ 1 เป็นเนื้อหา
-
ส่วนที่ 2 เป็นคำถามทดสอบความเข้าใจในตอนนั้น
ๆ
-
ส่วนที่ 3 เป็นคำตอบสำหรับคำถามในตอนนั้น
ๆ
คำแนะนำในการเรียนด้วยตนเอง
1. ทำแบบทดสอบก่อนเรียน 20 ข้อ
2. ทำความเข้าใจจุดมุ่งหมายของการเรียนให้เข้าใจอย่างชัดเจน
3.
ศึกษาเนื้อหาของบทเรียนทีละกรอบ
ไม่ควรรีบร้อนเกินไป
4.
เมื่อเข้าใจในสาระการเรียนรู้ของบทเรียนแต่ละกรอบแล้ว
ให้ตอบคำถาม
ในแต่ละกรอบ
5.
เปิดดูเฉลยคำตอบในแต่ละกรอบว่าที่ตอบคำถามไปแล้วถูกต้องหรือไม่
6.
ถ้าถูกต้องให้นักเรียนเรียนกรอบต่อไป แต่ถ้าตอบผิด ให้นักเรียนอ่านและทำ
ความเข้าใจใหม่แล้วจึงเรียนในกรอบต่อไป
7.
ทำแบบทดสอบหลังเรียน
8.
ตรวจแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียนจากเฉลยแล้ว
เปรียบเทียบผลการเรียนรู้
แบบทดสอบก่อนเรียน
วิชา สังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2
เรื่อง
พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย
|
คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1.
บุคคลใดได้ชื่อว่าเป็นพลเมืองดี ในสังคมประชาธิปไตย
ก. รับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน
ข. ติดตามข่าวสารบ้านเมือง
ค. เคารพกฎหมายบ้านเมือง
ง. ป้องกันมิให้ผู้ใดละเมิดสิทธิของตน
|
2. นักเรียนในฐานะที่ยังเป็นเด็ก นักเรียนจะทำตนเป็นพลเมืองดี ได้อย่างไร
ก. ช่วยสอดส่องดูแลชุมชนแทนตำรวจ
ข. ยืนตรงเคารพธงชาติทุกวัน
ค. สนับสนุนคนดีเป็นผู้นำ
ง.
ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว
|
3. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของพลเมืองในประเทศไทย
ก. คนไทยที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ในประเทศไทย
ข. คนที่เกิดในประเทศไทย
ค. คนที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทย
ง. คนที่มีพ่อแม่เป็นคนไทย
|
4. พลเมืองของประเทศจะมีสิทธิและหน้าที่มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับอะไร
ก. ความสามารถ
ข. กฎหมาย
ค. ความเสมอภาค
ง. เสรีภาพ
5. ประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตย
สิทธิของประชาชนที่สำคัญที่สุดคือข้อใด
ก. สิทธิในการปกครองตนเอง
ข. สิทธิในการนับถือศาสนา
ค. สิทธิในการเลือกคู่ครอง
ง. สิทธิในการเลือกที่อยู่อาศัย
|
6. วิถีชีวิตประชาธิปไตย
คือความหมายของข้อใด
ก. การร่วมปกครองประเทศ
ข. ทางเดินของประชาธิปไตย
ค. การอยู่ร่วมกันเคารพสิทธิผู้อื่น
ง. การปฏิบัติตามแบบคนอื่นๆ
|
7. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของสังคมประชาธิปไตย
ก. สันติภาพ
ข. สันติสุข
ค. เสรีภาพ
ง. ภราดรภาพ
|
8. คุณธรรมที่ต้องใช้เวลาปลูกฝังเป็นเวลานาน
ต้องปฏิบัติสม่ำเสมอจนเกิดความเคยชินเมื่อ
ปฏิบัติแล้วทำให้สังคมสงบสุข
มีความเรียบร้อย และเจริญรุ่งเรือง คือข้อใด
ก. ความสามัคคี
ข. ความเสียสละ
ค. ความอดทน
ง. ความมีระเบียบวินัย
|
9. ข้อใดไม่ใช่พื้นฐานของการประพฤติตนเป็นพลเมืองดี
ก. ความไม่ประมาท
ข. การรักษาศีล
ค. การทำทาน
ง. การคบคนพาล
10. สิ่งที่ถือว่าเป็นเครื่องหมายของ
คนดีปฏิบัติแล้วมีคนยกย่องนับถือคือข้อใด
ก. การรักษาวินัย
ข. การพัฒนาท้องถิ่น
ค. ความกตัญญูกตเวที
ง. การไม่คบคนพาล
|
11. ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีคือข้อใด
ก.จิตใจแจ่มใส
ข.มีความร่ำรวยขึ้น
ค.ได้รับรางวัล
ง.ไม่มีใครอยากคบด้วย
|
12.
หน้าที่ของพลเมืองข้อใด เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมือง
ก.
มีศีลธรรมตามหลักศาสนา
ข. เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาชุมชน
ค. สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ง. เข้ารับการศึกษาภาคบังคับ
|
13. สังคมที่มีประชาชนประพฤติตนเป็นพลเมืองดี แสดงถึงลักษณะประชากรของสังคม
นั้นในด้านใด
ก. ด้านคุณภาพประชากร
ข.
ระดับการศึกษาของประชากร
ค. ความซื่อสัตย์สุจริตของประชากร
ง. ฐานะทางเศรษฐกิจ
|
14. การปฏิบัติตนให้ได้ชื่อว่าเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน
ควรทำอย่างไรก่อนเป็น
ลำดับแรก
ก. สร้างชื่อเสียงให้โรงเรียน
ข. ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน
ค.
บริจาคเงินซื้ออุปกรณ์การเรียน
ง. นำผู้ปกครองเยี่ยมชมอาคารสถานที่
15. การปฏิบัติตนให้ได้ชื่อว่า
ช่วยรักษาชื่อเสียงของโรงเรียน คือข้อใด
ก. แต่งชุดเครื่องแบบนักเรียน
ข. ร่วมร้องเพลงชาติ
ค. ร่วมบริจาคเงินทำบุญให้วัด
ง. ประพฤติดีทั้งกายและวาจา
|
16.
คุณธรรมของพลเมืองดีข้อใด
สอดคล้องกับวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ก. ความรักพวกพ้อง
ข.
ความรักในอิสระเสรี
ค.
การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ง. ความอดทนต่อความยากลำบาก
|
17.
ผลดีที่ประเทศชาติมีประชาชนเป็นพลเมืองดีเป็นส่วนใหญ่
ก. รัฐสภาต้องตรากฎหมายใหม่
ข. มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
ค. เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่ต้องทำงานหนัก
ง. สังคมสงบสุขและเป็นระเบียบเรียบร้อย
|
18.
ลักษณะของพลเมืองดีที่มีความกล้าหาญในการทำความดี ไม่อายใคร คือข้อใด
ก. จูงคนตาบอดข้ามถนน
ข. ชำระค่าน้ำ ค่าไฟตรงเวลา
ค. ใช้คำพูดสุภาพกับผู้อื่น
ง. พาลูกมาส่งโรงเรียนทุกวัน
|
19.
คำพังเพยข้อใด แสดงถึงสังคมขาดแคลนพลเมืองดี
ก. รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี
ข. มือใครยาว สาวได้สาวเอา
ค. เขียนเสือให้วัวกลัว
ง. รำไม่ดี โทษปี่โทษกลอง
|
20.
สังคมทุกประเทศต้องการให้มีพลเมืองดีจำนวนมากเพื่ออะไร
ก. ได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว
ข. ลดรายจ่ายด้านการปราบปรามโจรผู้ร้าย
ค.
รัฐบาลมีเสถียรภาพ ไม่เปลี่ยนแปลงผู้นำบ่อยๆ
ง.
สังคมสงบสุข มีความเจริญก้าวหน้า มั่นคง
|
|
แบบทดสอบหลังเรียน
วิชา สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
2
เรื่อง พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย
|
คำสั่ง ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว
1. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของพลเมืองในประเทศไทย
ก. คนที่มีพ่อแม่เป็นคนไทย
ข. คนที่เกิดในประเทศไทย
ค. คนไทยที่ตั้งบ้านเรือนอยู่ในประเทศไทย
ง. คนที่อพยพเข้ามาอยู่ในประเทศไทย
|
2.
นักเรียนในฐานะที่ยังเป็นเด็ก
นักเรียนจะทำตนเป็นพลเมืองดี ได้อย่างไร
ก. สนับสนุนคนดีเป็นผู้นำ
ข. ยืนตรงเคารพธงชาติทุกวัน
ค. ปฏิบัติตนเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว
ง. ช่วยสอดส่องดูแลชุมชนแทนตำรวจ
|
3. บุคคลใดได้ชื่อว่าเป็นพลเมืองดี ในสังคมประชาธิปไตย
ก.
รับผิดชอบต่อหน้าที่การงาน
ข. ติดตามข่าวสารบ้านเมือง
ค.
เคารพกฎหมายบ้านเมือง
ง. ป้องกันมิให้ผู้ใดละเมิดสิทธิของตน
|
4. ประเทศที่ปกครองในระบอบประชาธิปไตยสิทธิของประชาชนที่สำคัญที่สุดคือข้อใด
ก. สิทธิในการปกครองตนเอง
ข. สิทธิในการนับถือศาสนา
ค. สิทธิในการเลือกคู่ครอง
ง. สิทธิในการเลือกที่อยู่อาศัย
|
5.
พลเมืองของของประเทศจะมีสิทธิและหน้าที่มากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับอะไร
ก. ความสามารถ
ข. กฎหมาย
ค. ความเสมอภาค
ง. เสรีภาพ
6.
คุณธรรมที่ต้องใช้เวลาปลูกฝังเป็นเวลานาน
ต้องปฏิบัติสม่ำเสมอจนเกิดความเคยชินเมื่อ
ปฏิบัติแล้วทำให้สังคมสงบสุข มีความเรียบร้อย
และเจริญรุ่งเรือง คือข้อใด
ก. ความสามัคคี
ข. ความเสียสละ
ค. ความอดทน
ง. ความมีระเบียบวินัย
|
7.
ข้อใดไม่ใช่พื้นฐานของการประพฤติตนเป็นพลเมืองดี
ก. ความไม่ประมาท
ข. การรักษาศีล
ค. การทำทาน
ง. การคบคนพาล
|
8. วิถีชีวิตประชาธิปไตย คือความหมายของข้อใด
ก. การร่วมปกครองประเทศ
ข. ทางเดินของประชาธิปไตย
ค. การอยู่ร่วมกันเคารพสิทธิผู้อื่น
ง. การปฏิบัติตามแบบคนอื่นๆ
|
9. สิ่งที่ถือว่าเป็นเครื่องหมายของ คนดีปฏิบัติแล้วมีคนยกย่องนับถือคือข้อใด
ก. การรักษาวินัย
ข. การพัฒนาท้องถิ่น
ค. ความกตัญญูกตเวที
ง. การไม่คบคนพาล
|
10. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของสังคมประชาธิปไตย
ก. สันติภาพ
ข. สันติสุข
ค. เสรีภาพ
ง. ภราดรภาพ
|
11. การปฏิบัติตนให้ได้ชื่อว่าเป็นสมาชิกที่ดีของโรงเรียน
ควรทำอย่างไรก่อนเป็น
ลำดับแรก
ก. บริจาคเงินซื้ออุปกรณ์การเรียน
ข.
ปฏิบัติตามกฎระเบียบของโรงเรียน
ค. สร้างชื่อเสียงให้โรงเรียน
ง. นำผู้ปกครองเยี่ยมชมอาคารสถานที่
|
12. สังคมที่มีประชาชนประพฤติตนเป็นพลเมืองดี
แสดงถึงลักษณะประชากรของสังคม
นั้นในด้านใด
ก. ฐานะทางเศรษฐกิจ
ข. ระดับการศึกษาของประชากร
ค.
ความซื่อสัตย์สุจริตของประชากร
ง. ด้านคุณภาพประชากร
|
13. ประโยชน์ที่ได้รับจากการปฏิบัติตนเป็นพลเมืองดีคือข้อใด
ก.ได้รับรางวัล
ข. มีความร่ำรวยขึ้น
ค. จิตใจแจ่มใส
ง.ไม่มีใครอยากคบด้วย
|
14. หน้าที่ของพลเมืองข้อใด
เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายบ้านเมือง
ก. เข้ารับการศึกษาภาคบังคับ
ข. เข้าร่วมกิจกรรมพัฒนาชุมชน
ค. สืบสานศิลปวัฒนธรรม
ง. มีศีลธรรมตามหลักศาสนา
|
15.
ผลดีที่ประเทศชาติมีประชาชนเป็นพลเมืองดีเป็นส่วนใหญ่
ก. รัฐสภาต้องตรากฎหมายใหม่
ข. สังคมสงบสุขและเป็นระเบียบเรียบร้อย
ค.
เจ้าหน้าที่ตำรวจไม่ต้องทำงานหนัก
ง. มีความมั่นคงทางเศรษฐกิจ
|
16. คุณธรรมของพลเมืองดีข้อใด
สอดคล้องกับวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ก.
ความรักพวกพ้อง
ข.
ความรักในอิสระเสรี
ค.
การรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
ง.
ความอดทนต่อความยากลำบาก
|
17.
การปฏิบัติตนให้ได้ชื่อว่า ช่วยรักษาชื่อเสียงของโรงเรียน คือข้อใด
ก. แต่งชุดเครื่องแบบนักเรียน
ข. ร่วมร้องเพลงชาติ
ค. ร่วมบริจาคเงินทำบุญให้วัด
ง.
ประพฤติดีทั้งกายและวาจา
|
18. คำพังเพยข้อใด แสดงถึงสังคมขาดแคลนพลเมืองดี
ก. รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี
ข. มือใครยาว สาวได้สาวเอา
ค. เขียนเสือให้วัวกลัว
ง. รำไม่ดี โทษปี่โทษกลอง
|
19.
สังคมทุกประเทศต้องการให้มีพลเมืองดีจำนวนมากเพื่ออะไร
ก. ได้ชื่อว่าเป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว
ข. ลดรายจ่ายด้านการปราบปรามโจรผู้ร้าย
ค.
รัฐบาลมีเสถียรภาพ ไม่เปลี่ยนแปลงผู้นำบ่อยๆ
ง. สังคมสงบสุข มีความเจริญก้าวหน้า มั่นคง
|
20.
ลักษณะของพลเมืองดีที่มีความกล้าหาญในการทำความดี ไม่อายใคร คือข้อใด
ก. จูงคนตาบอดข้ามถนน
ข. ชำระค่าน้ำ ค่าไฟตรงเวลา
ค. ใช้คำพูดสุภาพกับผู้อื่น
ง. พาลูกมาส่งโรงเรียนทุกวัน
|
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
เรื่อง พลเมืองดีตามวิถีชีวิตประชาธิปไตย
ก่อนเรียน
|
หลังเรียน
|
||
ข้อ
|
คำตอบ
|
ข้อ
|
คำตอบ
|
1
|
ค
|
1
|
ง
|
2
|
ง
|
2
|
ค
|
3
|
ค
|
3
|
ค
|
4
|
ข
|
4
|
ก
|
5
|
ก
|
5
|
ข
|
6
|
ค
|
6
|
ง
|
7
|
ง
|
7
|
ง
|
8
|
ง
|
8
|
ค
|
9
|
ง
|
9
|
ค
|
10
|
ค
|
10
|
ง
|
11
|
ก
|
11
|
ข
|
12
|
ง
|
12
|
ง
|
13
|
ก
|
13
|
ค
|
14
|
ข
|
14
|
ก
|
15
|
ง
|
15
|
จ
|
16
|
ค
|
16
|
ค
|
17
|
ง
|
17
|
ง
|
18
|
ก
|
18
|
ข
|
19
|
ข
|
19
|
ง
|
20
|
ง
|
20
|
ก
|
เอกสารอ้างอิง
ชูวงศ์ ฉายะบุตรและคณะ. หน้าที่พลเมือง
วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิตในสังคม ม.2. กรุงเทพฯ :
วัฒนาพานิช, 2547.
(หน้า 3-13)
วิทยา
ปานะบุตร. คู่มือสังคมศึกษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ม.2. กรุงเทพฯ : พ.ศ.พัฒนา, 2550.
(หน้า 203)
ชิด
ภิบาลแทน. พจนานุกรมนักเรียนฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพฯ : อักษราพิพัฒน์, 2541.
(หน้า 299, 498)
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊ค
พับลิเคชั่นส์, 2546. (หน้า
656, 769, 1075 )
|
|||||||
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)